วันอังคารที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

ลักษณะภูมิประเทศแต่ละประเทศในอาเซียน


ลักษณะของภูมิประเทศอาเซียน

1.ประเทศไทย
  1.เขตภูเขาและที่ราบระหว่างภูเขาภาคเหนือ ภูมิประเทศส่วนใหญ่ของเขตนี้มีลักษณะเป็นทิวเขา ภูเขา หุบเขาและแอ่งแผ่นดินระหว่างภูเขา มีความสูงชัน จากบริเวณ ตะวันตกเฉียงเหนือ แล้วค่อย ๆ ลาดต่ำลงมาสู่ที่ราบต่ำ บริเวณตะวันออกเฉียงใต้และตอนกลางแล้วค่อย ๆ สูงขึ้นอีกทางบริเวณตะวันออกและตะวันออก เฉียงเหนือในเขต จ.น่าน คือ แถบเทือกเขา หลวงพระบาง บริเวณที่สูงเหล่านี้นับเป็นแหล่งกำเนิดของแม่น้ำลำธารหลายสาย ที่ไหลลงสู่แม่น้ำโขงทางด้านเหนือ
2.ประเทศบรูไน
บรูไนประกอบด้วย 2 ส่วนที่ไม่ติดกันคือด้านตะวันตกและตะวันออกโดยที่ประชากรร้อยละ97อาศัยอยูในส่วนด้าน
ตะวันตก และมีประชากรเพียงประมาณ 10,000 คนที่อาศัยอยูในด้านตะวันออก ซึ่งมีภูเขาเป็นจํานวนมาก และเป็นที่ตั้งของ
เขตเตมบูรง เมืองหลัก ๆ ของบรูไนคือเมืองหลวงบันดาร์เสรีเบกาวัน เมืองท่ามูอารา และเซรีอา
ภูมิอากาศในบรูไนเป็นภูมิอากาศเขตร้อน มีอุณหภูมิสูง ความชื้นสูง และ ฝนตกมาก3.ประเทศกมพูชาภูมิอากาศเป็ นแบบร้อนชื้นแถบมรสุม
• ฤดูฝน เริ่มจากเดือนพฤษภาคม-ตุลาคม (เดือนตุลาคมมีฝนตกชุกที่สุด)
• ฤดูแล้งเริ่มจากเดือนพฤศจิกายน-เมษายน (เดือนเมษายนมีอุณหภูมิสูงสุดที่สุดและเดือนมกราคมมีอุณหภูมิ
ตํ่าที่สุด)
4.ประเทศอินโดนิเซีย
ลักษณะอากาศแบบศูนย์สูตร ประกอบด้วย 2 ฤดู คือ ฤดูแล้ง (พฤษภาคม-ตุลาคม)และฤดูฝน (พฤศจิกายน-
เมษายน)อินโดนีเซียมีฝนตกชุกตลอดปีแตอุณหภูมิไม ่ สูงมากนัก เพราะพื ่ ้นที่เป็ นเกาะจึงได้รับอิทธิพลจาก
ทะเลอยางเต็มที่
5.ประเทศลาว
ภูมิอากาศ
สปป.ลาว มีสภาพภูมิอากาศแบบร้อนชื้นและได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมในทะเลจีนใต้จึงทําให้แบ่งสภาพภูมิอากาศ
ออกเป็น 3 ฤดูคือ
ฤดูร้อนเริ่มตั้งแตปลายเดือนกุมภาพันธ์ – ปลายเดือนพฤษภาคม
ฤดูฝนเริ่มตั้งแตต้นเดือนมิถุนายน – ปลายเดือนกันยายน
ฤดูหนาวเริ่มตั้งแตต้นเดือนตุลาคม –เดือนกุมภาพันธ์
อุณหภูมิเฉลี่ยที่นครหลวงเวียงจันทน์ 25 องศาเซลเซียส (มกราคม)และ 36-37 องศาเซลเซียส (เมษายน)
อุณหภูมิเฉลี่ยที่หลวงพระบาง20 องศาเซลเซียส (มกราคม)และ 32-34 องศาเซลเซียส (เมษายน)
ช่วงหน้าหนาวอุณหภูมิเฉลี่ยบนภูเขาทางภาคเหนือ 10-15 องศาเซลเซียส
6.ประเทศมาเลเซีย
1. ภูมิประเทศบนแหลมมลายูเป็ นหนองบึงตามชายฝั่งและพื้นดินจะสูงขึ้นเป็ นลําดับ จนกลายเป็น
แนวเขาด้านในของประเทศ โดยมีพื้นที่ราบอยูระหว่างแม่นํ้าสายต่างๆพื้นดินไม่คอยอุดมสมบูรณ์
นักแต่เหมาะสําหรับปลูกยางพาราและต้นปาล์ม ่ ด้านในของประเทศจะมีพืชพันธุ์ไม้นานาชนิดขึ้น
ตามบริเวณป่าดงดิบ โดยเฉพาะในแถบภูเขาซึ่งมีความสูงระหวาง ่ 150-2,207 เมตรเหนือระดับนํ้า
ทะเล มีความยาวของชายฝั่งจากเหนือ (ติดชายแดนไทย)ถึงปลายแหลมประมาณ 804 กิโลเมตร
ทางชายฝั่งตะวันตกมีช่องแคบมะละกาแยกออกจากเกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย ความกว้างของ
แหลมส่วนที่กว้างที่สุดประมาณ 330 กิโลเมตร
7.ประเทศพม่า
ลักษณะภูมิประเทศ
• ภาคเหนือ– เทือกเขาปัตไกเป็นพรมแดนระหวางพม่าและอินเดีย
• ภาคตะวันตก– เทือกเขาอาระกนโยมากันเป็นแนวยาว
• ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ– เป็นที่ราบสูงชาน
• ภาคใต้– มีทิวเขาตะนาวศรีก้นระหว่างไทยกับพม่า่
• ภาคกลาง – เป็นที่ราบลุ่มแมนํ้าอิรวด
8.ประเทศฟิลิปปินส์
1 ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ
แม้ฟิ ลิปปิ นส์จะประกอบด้วยหมูเกาะน้อยใหญ่ ถึง 7,107 เกาะ แตเป็นเกาะที่มีประชากรอาศัยอยู่ จริงเพียงประมาณ 2,000
เกาะเท่านั้น ที่เหลือเป็นเกาะภูเขาไฟและเกาะขนาดเล็ก ซึ่งบางแห่งจะจมอยู่ใต้ทะเลขณะที่นํ้าขึ้นสูงสุด นอกจากนี้ยังมีเกาะ
ที่ยังไม่ได้สํารวจและไม่ มีชื่อเรียกอีกกว่า 2,500 เกาะ ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขา มีพื้นที่ราบแคบๆ ตามชายฝั่งทะเลการ
เดินทางระหว่างเกาะจึงใช้เครื่องบินเป็นหลัก
ด้วยสภาพทางธรณีวิทยาทําให้ฟิลิปปินส์มักประสบปัญหาแผนดินไหวและภูเขาไฟ ปะทุอยู่เนื่องๆ ส่งผลให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางภูมิศาสตร์บ่อยครั้ง ปัจจุบันมีภูเขาไฟอยางน้อย 22 ลูกยังคุกรุ่นพร้อมปะทุตลอดเวลา ภูเขาไฟ
สําคัญ ได้แก่มายอน (Mayon) ใกล้เมืองลีกาสปี (Legaspi) ตาอัล (Taal) อยู่ทางใต้ของกรุงมะนิลา ปินาตูโบ (Pinatubo) ซึ่ง
ระเบิดไปเมื่อ ปี 2534 และกลายเป็ นแหล่งท่องเที่ยวสําคัญในเวลาต่อมา และ อาโป (Apo) ซึ่งเป็นยอดเขาสูงที่สุดใน
ฟิลิปปินส์ โดยมีความสูงกว่า 2,954 เมตรอยู่บนเกาะมินดาเนา
9.ประเทศสิงคโปร์
สิงคโปร์ มีพื้นที่รวม 699.4 ตารางกิโลเมตร ซึ่งเทียบเท่ากับภูเก็ตของไทย ประกอบด้วยเกาะสิงคโปร์ และเกาะใหญ่ น้อย บริเวณรายรอบ รวม 63 เกาะ เกาะใหญ่ที่สุด คือ เกาะ Singapore มีระยะทางจากทิศตะวันตกถึงตะวันออกประมาณ 42 กิโลเมตร และทิศเหนือถึงทิศใต้ประมาณ 23 กิโลเมตร รองลงมา ได้แก่ เกาะ Jurong เกาะ Pulau-tekong เกาะ Pulau-ubin และ เกาะ Sentosaด้านสภาพภูมิอากาศ สิงคโปร์อยู่ในเขตมรสุมทําให้มีอากาศอบอุ่นเกือบตลอดปี มีอุณหภูมิเฉลี่ยอยูที่ประมาณ 25-ํ 32◌ํ เซลเซียส
10.ประเทศเวียดนาม
ภูมิอากาศ: เวียดนามเป็นประเทศที่อยู่ในเขตมรสุมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ระห่วางเส้นทรอปิกออฟแคนเซอร์และเส้นศูนย์สูตร เนื่องจากประเทศมีความยาวมาก ภูมิอากาศจะหลากหลายต่างกันไปในแต่ละท้องถิ่่น
ภาคเหนือ จะแบ่งออกเป็น 4 ฤดู
-ฤดูใบไม้ผลิ ( มีนาคม-เมษายน )จะมีฝนตกปรอยๆและความชื้นสูง อุณหภูมิอยู่ประมาณ 17°c-23°C
-ฤดูร้อน (พฤษภาคม-สิงหาคม)อากาศจะร้อนและมีฝน อุณหภูมิประมาณ30°c-39°C เดือนที่ ร้อนที่สุด คือ มิถุนายน
-ฤดูใบไม้ร่วง(กันยายน – พฤศจิกายน)อุณหภูมิประมาณ 23°C -28°C
-ฤดูหนาว (ธันวาคม-กุมภาพันธ์)อุณหภูมิประมาณ 7°c-20°C แตในบางครั้งอาจลดถึง 0°C เดือนที่หนาวที่สุด คือ มกราคม
ภาคกลาง พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูง แบ่งออกเป็น 2 ฤดูกาลโดยอากาศจะคอนข้างร้อนตลอดปี
-ฤดูฝน (พฤษภาคม-ตุลาคม)
-ฤดูแล้ง(ตุลาคม-เมษายน) เดือนที่อากาศร้อนมากที่สุด คือ มิถุนายน –กรกฎาคม อุณหภูมิเกือบ 40°C เดือนที่อากาศเย็น
ที่สุด คือ มกราคม อุณหภูมิเกือบ 20 °C

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น